Call us: 02-3282110 | E-mail: training@trainerinthai.com

Author Archive

การบริหารลูกค้าสัมพันธ์

หลักการและเหตุผล การให้บริการลูกค้าในงานบริการ มีความสำคัญและมีความละเอียดอ่อนเป็นอย่างยิ่ง ในด้านการปฏิบัติ ที่จะสร้างความพึงพอใจและประทับใจต่อลูกค้าที่มาใช้บริการ ซึ่งพนักงานทุกคนในองค์กรจะต้องมีความเข้าใจเรื่องนี้อย่างถ่องแท้ โดยที่ความเข้าใจนั้นจะต้องมีความถูกต้องและเป็นมาตรฐานสากล ทั้งนี้เพื่อให้การทำงานหรือการบริการเป็นไปอย่างมีปริทธิภาพและเกิดประสิทธิผลสูงสุดต่อลูกค้า ดั้งนั้น พนักงานทุกคนที่อยู่ในหน่วยหน้าที่งานต่างๆ จะต้องมีการพัฒนาตนเองในเรื่องงานบริการอย่างเหมาะสมต่อผู้ใช้บริการ ไม่ว่าจะเป็นการแสดงออกทางด้านพฤติกรรรมหรือการทำงานใดๆ โดยมุ่งหวังให้ลูกค้าได้มีความประทับใจและต้องการใช้บริการตลอดไป อันจะช่วยส่งผลให้องค์กรมีภาพพจน์ที่สวยงามและลูกค้ากล่าวขานกันปากต่อปากสืบไป วัตถุประสงค์ 1. เพื่อให้ผู้เข้าอบรมได้ตระหนักรู้ถึงความสำคัญเกี่ยวกับ “งานบริการ” ที่มีความสำคัญและเกิด Service Mind ขึ้นในตนเองด้วยความเต็มใจและมีความเข้าใจอย่างแท้จริง 2. เพื่อให้ผู้เข้าอบรมได้ทราบจุดเด่นและจุดด้อยในการทำงานของตน ด้านพฤติกรรม/การแสดงออก (ซึ่งอาจจะรู้ตัวหรือไม่ก็ตาม) จะได้สามารถประพฤติตนและปฏิบัติงานได้อย่างถูกต้อง/เหมาะสมในวิถีนั้นต่อไป 3. เพื่อให้ผู้เข้าอบรมได้เรียนรู้ถึงแนวทาง/วิถีทางที่จะช่วยยกระดับมาตรฐานการทำงานของตนเอง ได้อย่างเหมาะสมและสอดคล้องกับยุคสมัยปัจจุบัน 4. เพื่อให้ผู้เข้าอบรมได้เกิดการเปลี่ยนแปลงทัศนคติและพัฒนาตนเองในด้านการทำงานได้อย่างมีนัยสำคัญที่ดีขึ้นอันจะเป็นกำลังสำคัญขององค์กรในการขับเคลื่อนความก้าวหน้าและความมั่นคงสืบไป 5. เพื่อให้ผู้เข้าอบรมได้มีโอกาสแลกเปลี่ยนนานาทัศนะต่อกัน อันจะช่วยทำให้เกิดความเข้าใจและเกิดสภาพการทำงานเป็นทีมอย่างมีคุณภาพมากยิ่งขึ้น หัวข้อบรรยาย 1. ความหมายที่ถูกต้องและความสำคัญของ “บุคลิกภาพ” (Personality) ในงานต้อนรับและ บริการ 2. องค์ประกอบหลักสำคัญ 2 ส่วนของบุคลิกภาพในตัวบุคคล: งามในและงามนอก 3. ลักษณะท่าทางในบุคลิกภาพที่สร้างความดึงดูดใจและลูกค้าประทับใจ(Appropriate Posture) 4. ความหมาย ความสำคัญและอิทธิพลของ “ลูกค้า” (Customer) […]

Read more

Key Performance Indicators “KPIs”

หลักการและเหตุผล ในสภาวะปัจจุบันการแข่งขันทางธุรกิจเป็นไปอย่างรุนแรง องค์กรใดที่มีศักยภาพในการแข่งขันสูงก็จะสามารถอยู่รอดและเป็นผู้นำในธุรกิจได้ Key Performance Indicators “KPIs” ถือเป็นเครื่องมือทางการจัดการอย่างหนึ่งที่จะสะท้อนให้เห็นถึงศักยภาพในการแข่งขันขององค์กรในด้านต่างๆว่ามีมากหรือน้อยเพียงใด และควรจะตั้งเป้าหมายที่ระดับใดจึงจะสามารถแข่งขันกับคู่แข่งได้ ตลอดจนช่วยกระจายนโยบายจากผู้บริหารระดับสูงลงสู่หน่วยงานต่างๆได้อย่างเป็นระบบ (Policy Deployment) วัตถุประสงค์หลักสูตร 1. เพื่อให้ผู้เข้าอบรมเข้าใจความหมายของ KPIs และความจำเป็นในการนำ KPIs มาใช้ในองค์กร 2. เพื่อให้ผู้เข้าอบรมสามารถนำนโยบายของผู้บริหารระดับสูงมาจัดทำเป็น KPIs ของหน่วยงานต่างๆได้อย่างมีประสิทธิผล 3. เพื่อให้สอดคล้องกับระบบบริหารคุณภาพ ISO 9001:2000 เนื้อหาหลักสูตร 1. แนวคิดและความจำเป็นในการนำ KPIs มาใช้ในองค์กร 2. ความหมายและลักษณะของ KPIs ที่ดี 3. การนำนโยบายของผู้บริหารระดับสูงมาจัดทำเป็น KPIs ของหน่วยงานต่างๆตามหลักการของPolicy Deployment 4. ทดลองจัดทำ KPIs ของหน่วยงานต่างๆ 5. นำเสนอ KPIs ของหน่วยงานต่างๆ คุณสมบัติผู้เข้าอบรม : ผู้บริหาร, วิศวกร, หัวหน้างาน และพนักงาน […]

Tags:

Read more

ความรู้พื้นฐานด้าน GMP (Good Manufacturing Practice)

หลักการและเหตุผล การแข่งขันในธุรกิจ โดยเฉพาะในธุรกิจเกษตรอุตสาหกรรมแล้วในเรื่องของการผลิตอาหารเพื่อส่งออกในตลาดต่าง ๆ สิ่งสำคัญคือคุณภาพและความปลอดภัยของผลิตภัณฑ์นั้น ๆ ซึ่งในหลาย ๆ ประเทศต่างให้ความสำคัญในเรื่องของระบบคุณภาพความปลอดภัยในตัวผลิตภัณฑ์อาหารทั้งสิ้น ดังนั้นหลักสูตร “ความรู้พื้นฐานด้าน GMP (Good Manufacturing Practice)” จึงเป็นหลักสูตรที่จะให้ความรู้เกี่ยวกับระบบคุณภาพ GMP ความเข้าใจในหลักการจัดทำระบบคุณภาพและให้ทราบขอบเขตการดำเนินการตามมาตรฐานสากล GMP วัตถุประสงค์ 1. เพื่อให้ผู้เข้ารับการอบรมเข้าใจหลักการจัดทำและระดับเอกสารในระบบคุณภาพ (GMP) 2. เพื่อให้ผู้เข้ารับการอบรมสามารถจัดทำเอกสารโปรแกรมพื้นฐานด้านสุขลักษณะ (GMP) ได้อย่าง ถูกต้องและครบถ้วนตามเนื้อหาของมาตรฐานอาหารระหว่างประเทศ 3. เพื่อให้ผู้ประกอบการมีคู่มือโปรแกรมพื้นฐานด้านสุขลักษณะเพื่อใช้จัดการระบบสุขลักษณะภายใน องค์กรได้อย่างมีประสิทธิภาพ 4. เพื่อให้ทราบขอบเขตการดำเนินการตามมาตรฐานสากล GMP หัวข้อในการฝึกอบรม 1. ความสำคัญของ CODEX 2. สาระสำคัญในหลักเกณฑ์ทั่วไป  ขอบข่ายการใช้และนิยามคำศัพท์  การผลิตในขั้นต้น  สถานที่ประกอบการที่เหมาะสม  การควบคุมการปฏิบัติ  การบำรุงรักษาและการสุขาภิบาล  สุขลักษณะส่วนบุคคล  การขนส่ง วิธีการฝึกอบรม […]

Tags:

Read more

สถิติเบื้องต้นในระบบคุณภาพ

หลักการและเหตุผล ในองค์กรที่มีการนำระบบคุณภาพมาใช้ในการปฏิบัติงานอาจต้องมีการนำเอาเรื่องของหลักสถิติมาใช้ในระบบคุณภาพด้วย เทคนิคการหาค่าต่าง ๆ เพื่อใช้ในการสรุปข้อมูล การวิเคราะห์ต่าง ๆ ดังนั้นหลักสูตร “สถิติเบื้องต้นในระบบคุณภาพ” จะช่วยอธิบายถึงความหมายของสถิติในระบบคุณภาพ, ขั้นตอนการทำสถิติ วิธีการต่าง ๆ ในการนำหลักสถิติมาใช้ในระบบคุณภาพ ซึ่งจะช่วยให้ผู้เข้าอบรมสามารถประยุกต์ในการหาค่าต่าง ๆ มาสรุปข้อมูลได้ วัตถุประสงค์ 1. เพื่อให้ผู้เข้ารับการฝึกอบรมมีความเข้าใจเกี่ยวกับขั้นตอนการทำสถิติในระบบคุณภาพและเทคนิคในการหาค่าต่าง ๆ ในการสรุปข้อมูล 2. เพื่อให้ผู้เข้ารับการฝึกอบรมสามารถนำหลักสถิติไปประยุกต์และเลือกใช้หลักสถิติในการวิเคราะห์และสรุป ข้อมูลได้ หัวข้อในการฝึกอบรม 1. ความหมายของสถิติในระบบคุณภาพ 2. ขั้นตอนการทำสถิติในระบบคุณภาพ • ชนิดของข้อมูลและการเก็บข้อมูล • วิธีการนำเสนอและการแสดงข้อมูล • วิธีการวิเคราะห์ข้อมูลจากตารางและกราฟ • วิธีการแปลความหมาย 3. การวัดแนวโน้มเข้าสู่ส่วนกลาง • เทคนิคการหาค่าเฉลี่ย • เทคนิคการหาค่ามัธยฐาน • เทคนิคการหาค่าฐานนิยม 4. การวัดกระจาย • เทคนิคการหาค่าพิสัย • เทคนิคการหาค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน • เทคนิคการหาค่าเบี่ยงเบนเฉลี่ย 5. […]

Read more

จิตสำนึกในระบบคุณภาพ

หลักการและเหตุผล ปัจจุบันการแข่งขันในธุรกิจอุตสาหกรรมนั้น นอกเหนือจากด้านการตลาดที่มีการแข่งขันอย่างต่อเนื่องและเข้มข้นแล้ว ในเรื่องของระบบคุณภาพถือเป็นเรื่องที่มีความสำคัญและได้รับความสนใจเป็นอย่างมาก ในหลาย ๆ องค์กรมีการนำระบบคุณภาพมาใช้ในธุรกิจ แต่สิ่งสำคัญที่จะทำให้องค์กรได้รับประโยชน์จากระบบคุณภาพต่าง ๆ ที่นำมาใช้ในองค์กรได้นั้น ส่วนหนึ่งต้องมาจากจิตสำนึกของบุคลากรที่อยู่ในองค์กรนั้น ๆ ด้วย ดังนั้นหลักสูตร “จิตสำนึกด้านคุณภาพเบื้องต้น” จึงเป็นหลักสูตรหนึ่งที่จะให้ความรู้ ความเข้าใจที่ถูกต้องในเรื่องของคุณภาพ รวมถึงอธิบายความแตกต่างระหว่าง “การประกันคุณภาพ” กับ “การควบคุมคุณภาพ” ว่าเป็นอย่างไร ตลอดจนช่วยเสริมสร้างจิตสำนึกด้านคุณภาพให้กับบุคลากรภายในองค์กรในเบื้องต้น เพื่อที่จะพัฒนาไปสู่ระบบคุณภาพในระดับต่อ ๆ ไป วัตถุประสงค์ 1. เพื่อให้ผู้เข้ารับการฝึกอบรมมีความรู้เกี่ยวกับคำว่า “คุณภาพ” และประโยชน์ของคุณภาพความแตกต่าง ระหว่างการตรวจสอบคุณภาพ (QC) กับการประกันคุณภาพ (QA) 2. เพื่อให้ผู้เข้ารับการฝึกอบรมเกิดความเข้าใจที่ถูกต้องเกี่ยวกับคุณภาพ 3. เพื่อให้ผู้เข้ารับการฝึกอบรมเกิดความตระหนักถึงการพัฒนาคุณภาพ หัวข้อในการฝึกอบรม 1. ความหมายของคุณภาพ 2. ความเข้าใจที่ถูกต้องเกี่ยวกับคุณภาพ 3. การควบคุมคุณภาพคืออะไร 4. การประกันคุณภาพคืออะไร 5. ความแตกต่างระหว่าง Q.C. และ Q.A. 6. พัฒนาการของคำว่า […]

Read more

ความรู้พื้นฐานเรื่องการจัดทำระบบคุณภาพห้องปฏิบัติการ (ISO/IEC 17025)

หลักการและเหตุผล ในระบบคุณภาพที่องค์กรต่าง ๆ ใช้อยู่ในปัจจุบันนี้นั้น บางธุรกิจจำเป็นต้องมีการจัดการคุณภาพเกี่ยวกับห้องปฏิบัติการ ISO/IEC 17025 ซึ่งจะมุ่งเน้นในเรื่องของการควบคุมคุณภาพห้องปฏิบัติการที่ใช้ในการทดสอบให้เป็นที่ยอมรับและเป็นไปตามมาตรฐานสากล ดังนั้นหลักสูตร “ความรู้พื้นฐานเรื่องการจัดทำระบบคุณภาพห้องปฏิบัติการ ISO/IEC 17025” จึงเป็นหลักสูตรที่จะให้ความรู้พื้นฐานเรื่องการจัดทำระบบคุณภาพห้องปฏิบัติการให้กับผู้เข้าอบรม ให้ทราบถึงประวัติความเป็นมา ความจำเป็นในการดำเนินการระบบ ISO/IEC 17025 รวมถึงข้อกำหนด และประโยชน์จากการดำเนินการระบบคุณภาพ ISO/IEC 17025 วัตถุประสงค์ 1. เพื่อให้ความรู้ความเข้าใจในเรื่องมาตรฐานข้อกำหนดทั่วไปว่าด้วยความสามารถของห้องปฏิบัติการ ทดสอบและห้องปฏิบัติการสอบเทียบ 2. เพื่อส่งเสริมการควบคุมคุณภาพโรงงานและการทดสอบวิเคราะห์ผลิตภัณฑ์อาหารในโรงงาน อุตสาหกรรมอย่างมีประสิทธิภาพและเป็นไปตามมาตรฐานสากล หัวข้อในการฝึกอบรม 1. ประวัติความเป็นมาของ ISO/IEC 17025 2. เหตุผลและความจำเป็นในการดำเนินระบบคุณภาพห้องปฏิบัติการ 3. ประโยชน์จากการดำเนินระบบ ISO/IEC 17025 4. ข้อกำหนดทั่วไปว่าด้วยความสามารถของห้องปฏิบัติการทดสอบและห้องปฏิบัติการสอบเทียบ วิธีการฝึกอบรม บรรยาย , กรณีศึกษา, แบบฝึกหัด, ฝึกปฏิบัติ กลุ่มเป้าหมาย พนักงาน, หัวหน้างาน, หัวหน้าหน่วย, ผู้จัดการแผนก จำนวนผู้เข้ารับการฝึกอบรม ประมาณ 20 […]

Read more

ความรู้พื้นฐานด้าน GMP (Good Manufacturing Practice)

หลักการและเหตุผล การแข่งขันในธุรกิจ โดยเฉพาะในธุรกิจเกษตรอุตสาหกรรมแล้วในเรื่องของการผลิตอาหารเพื่อส่งออกในตลาดต่าง ๆ สิ่งสำคัญคือคุณภาพและความปลอดภัยของผลิตภัณฑ์นั้น ๆ ซึ่งในหลาย ๆ ประเทศต่างให้ความสำคัญในเรื่องของระบบคุณภาพความปลอดภัยในตัวผลิตภัณฑ์อาหารทั้งสิ้น ดังนั้นหลักสูตร “ความรู้พื้นฐานด้าน GMP (Good Manufacturing Practice)” จึงเป็นหลักสูตรที่จะให้ความรู้เกี่ยวกับระบบคุณภาพ GMP ความเข้าใจในหลักการจัดทำระบบคุณภาพและให้ทราบขอบเขตการดำเนินการตามมาตรฐานสากล GMP วัตถุประสงค์ 1. เพื่อให้ผู้เข้ารับการอบรมเข้าใจหลักการจัดทำและระดับเอกสารในระบบคุณภาพ (GMP) 2. เพื่อให้ผู้เข้ารับการอบรมสามารถจัดทำเอกสารโปรแกรมพื้นฐานด้านสุขลักษณะ (GMP) ได้อย่างถูกต้องและครบถ้วนตามเนื้อหาของมาตรฐานอาหารระหว่างประเทศ 3. เพื่อให้ผู้ประกอบการมีคู่มือโปรแกรมพื้นฐานด้านสุขลักษณะเพื่อใช้จัดการระบบสุขลักษณะภายในองค์กรได้อย่างมีประสิทธิภาพ 4. เพื่อให้ทราบขอบเขตการดำเนินการตามมาตรฐานสากล GMP หัวข้อในการฝึกอบรม 1. ความสำคัญของ CODEX 2. สาระสำคัญในหลักเกณฑ์ทั่วไป  ขอบข่ายการใช้และนิยามคำศัพท์  การผลิตในขั้นต้น  สถานที่ประกอบการที่เหมาะสม  การควบคุมการปฏิบัติ  การบำรุงรักษาและการสุขาภิบาล  สุขลักษณะส่วนบุคคล  การขนส่ง วิธีการฝึกอบรม บรรยาย , […]

Read more

ความรู้พื้นฐาน ISO 9001 : 2008

หลักการและเหตุผล GMP เป็นกระบวนการหนึ่งของการรักษาระบบ HACCP ให้เป็นไปตามมาตรฐานที่ Codex กำหนด ซึ่งทั้ง 2 ระบบนี้มีความจำเป็นต่ออุตสาหกรรมอาหาร และเป็นส่วนหนึ่งของ ISO 9000 ในเรื่องของการควบคุมกระบวนการ กลยุทธ์อย่างหนึ่งของผู้บริหารที่ใช้สำหรับการบริหารองค์กร คือ ISO 9000 เพื่อที่จะทำให้สามารถแข่งขันในเรื่องของการตลาดได้อย่างมีประสิทธิภาพ โดยเฉพาะอย่างยิ่ง ISO 9000 ได้ปรับเปลี่ยน Version เป็นปี 2000 ทำให้แต่ละองค์กรที่กำลังจะจัดทำระบบคุณภาพ ISO 9001 รวมทั้งองค์กรที่ปรับเปลี่ยน Version จำเป็นต้องทำความเข้าใจกับข้อกำหนดใหม่ และแนวทางการจัดทำระบบอย่างมีประสิทธิภาพอย่างสูงสุด วัตถุประสงค์ 1. เพื่อสร้างพื้นฐานความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับ ISO 9001 Version ปี 2008 2. เพื่อสามารถนำระบบคุณภาพ ISO 9001 : 2008 ใช้ในองค์กร 3. เพื่อสร้างทักษะในการเตรียมขั้นตอนระบบคุณภาพ เพื่อให้ได้รับการรับรอง 4. เพื่อให้ผู้บริหารให้การสนับสนุนและมีส่วนร่วมในการจัดทำระบบคุณภาพ 5. เพื่อให้ทราบถึงแนวทางในการพัฒนาระบบคุณภาพได้อย่างต่อเนื่อง […]

Read more

ความรู้พื้นฐาน ISO 9000 : 2000

หลักการและเหตุผล ในปัจจุบันหลาย ๆ องค์กรธุรกิจทั่วโลกต่างให้ความสำคัญกับระบบมาตรฐานคุณภาพเป็นอย่างมาก เนื่องจากทำให้ลูกค้ามั่นใจว่าได้ซื้อหรือบริโภคสินค้าที่มีคุณภาพและได้มาตรฐานตามหลักสากล ซึ่งในแต่ละองค์กรจำเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องดำเนินกิจกรรมด้านคุณภาพอย่างต่อเนื่องและเป็นระบบเพื่อให้เกิดประสิทธิภาพและคุณภาพมากที่สุด ดังนั้นหลักสูตร “ความรู้พื้นฐาน ISO 9000” จึงเป็นหลักสูตรที่จะเสริมความรู้พื้นฐานด้านระบบการจัดการคุณภาพให้กับผู้เข้าอบรม ให้ทราบถึงข้อกำหนด ขั้นตอน วิธีการจัดการ และเทคนิคในการดำเนินโครงการ รวมถึงอธิบายให้เข้าใจและทราบถึงประโยชน์ในการจัดทำระบบการจัดการคุณภาพ วัตถุประสงค์ 1. เพื่อสร้างพื้นฐานความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับ ISO 9001 Version ปี 2000 2. เพื่อสามารถนำระบบคุณภาพ ISO 9001 : 2000 ใช้ในองค์กร 3. เพื่อสร้างทักษะในการเตรียมขั้นตอนระบบคุณภาพเพื่อให้ได้การรับการรับรอง 4. เพื่อให้ผู้บริหารให้การสนับสนุนและมีส่วนร่วมในการจัดทำระบบคุณภาพ 5. เพื่อให้ทราบถึงแนวทางในการพัฒนาระบบคุณภาพได้อย่างต่อเนื่อง หัวข้อในการฝึกอบรม 1. ประวัติความเป็นมาและประโยชน์  ประวัติความเป็นมาของ ISO 9000  ความหมาย ISO 9000 คืออะไร  เหตุผลและความจำเป็นในการดำเนินระบบ  ประโยชน์จากการดำเนินระบบ ISO 9000 […]

Read more

ข้อกำหนดใน ISO 14000

หลักการและเหตุผล กิจกรรมต่างๆไม่ว่าจะเป็นการผลิตหรือบริการที่เกิดในหน่วยงาน ล้วนแต่มีส่วนในการสร้างผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมและทรัพยากรเป็นอย่างมาก ซึ่งอาจจะเรียกได้ว่าเป็นมูลเหตุใหญ่ก็ว่าได้การจะแก้ไขปรับปรุงปัญหาจะต้องกระทำโดยองค์รวมอย่างเป็นระบบและขั้นตอนจึงจะบรรลุผล ISO 14001 เป็นเครื่องมือให้การจัดการที่ได้รับการพิสูจน์จากหลายๆองค์กรว่าเป็นวิธีการจัดการที่ดีที่จะทำให้ปัญหาด้านสิ่งแวดล้อมและทรัพยากรที่เกิดขึ้นได้มีการปรับปรุงอย่างมีประสิทธิภาพ แต่การจะทำให้บรรลุผลอย่างแท้จริง จึงต้องมีความรู้ ความเข้าใจต่อวิธีการ ขั้นตอนอย่างแท้จริง พร้อมลงมือปฏิบัติเท่านั้นจึงจะบรรลุผลได้ วัตถุประสงค์ 1. เพื่อให้ผู้เข้าอบรมได้เข้าใจบทบาท ขั้นตอน วิธีการจัดระบบตลอดทุกขั้นตอน 2. เพื่อให้ผู้เข้าอบรม ได้เข้าใจข้อกำหนดของ ISO 14001 ตลอดจนการตีความหมายเชิงปฏิบัติอย่างแท้จริง 3. เพื่อให้ผู้เข้าอบรมเกิดทักษะจากการฝึกปฏิบัติข้อกรณีศึกษาต่างๆในระหว่างการอบรม 4. เพื่อให้ผู้เข้าอบรมได้เข้าใจ และเกิดทักษะในการตรวจสอบระบบและรักษาระบบ หลักสูตรการอบรม – ทบทวนขั้นตอนการดำเนินการ – ข้อกำหนดและการตีความของ ISO 14001 – การวิเคราะห์ปัญหาด้านสิ่งแวดล้อม – ฝึกหัดวิเคราะห์ปัญหาด้านสิ่งแวดล้อม (Aspect) – การจัดลำดับความสำคัญของปัญหา (significant Aspects) – รายงานผล – สรุปและการดำเนินการขั้นถัดไป คุณสมบัติผู้เข้าอบรม ผู้บริการระดับปฏิบัติ, ผู้ที่ต้องการนำระบบไปสู่การปฏิบัติ กลุ่มเป้าหมาย : 20-30 คน/รุ่น […]

Read more

Top